🦖✅👉การทดสอบเสาเข็มแบบ Seismic Integrity Test📌 มีจุดประสงค์เพื่อประเมินสภาพความสมบูรณ์ตลอดความยาวของเสาเข็ม✨ การทดสอบวิธีนี้สะดวก, รวดเร็ว และมีค่าใช้จ่ายต่ำ✅ จึงเหมาะสมและเป็นที่นิยมใช้ตรวจสอบความสมบูรณ์ของเสาเข็ม✨ ในขั้นต้น🎯 หากพบข้อบกพร่องในการตรวจสอบ👉 จึงกำหนดวิธีทดสอบอื่น ๆ ประกอบกับพิจารณาหรือดำเนินการซ่อมแซมแก้ไขต่อไป🦖 การทดสอบนี้สามารถดำเนินการได้ทั้งในเสาเข็มคอนกรีตอัดแรงและเสาเข็มเจาะหล่อกับที่🥇 ผลการทดสอบนี้จะระบุถึงข้อบกพร่องต่าง ๆ📌 อาทิเช่น รอยแตกร้าว (Crack)📌 โพรงหรือช่องว่าง (Void)📢 รอยคอด (Size reduction)⚡ หรือการบวม (Size increase)📢 ของเสาเข็ม เป็นต้น
(https://scontent.fbkk5-1.fna.fbcdn.net/v/t39.30808-6/358578273_763300175591419_3128903020773798032_n.jpg?_nc_cat=109&ccb=1-7&_nc_sid=127cfc&_nc_eui2=AeEtG8DVkHy8v-wS2YG5E9DkRJutitLypd9Em62K0vKl3xRd6M_JndSgXhTovFg1wXTXrtVFLRMoxxYq-UXvlz3m&_nc_ohc=NVUbnfN3ProQ7kNvgEg9mKE&_nc_ht=scontent.fbkk5-1.fna&oh=00_AYC_jCRSR58NSnl1CVvybDiprdHJsgKlX_x3TzHuSdQF5A&oe=66A69B93)
✅👉📢วิธีการและขั้นตอนของการทดสอบ📌🎯✅👉
📢🎯🛒การทดสอบเริ่มด้วยการติดตั้งหัววัดสัญญาณคลื่นความเค้น (Accelerometer Transducer) บนหัวเสาเข็มที่ต้องการทดสอบ✅ โดยหัวเสาเข็มควรสะอาด ไม่มีน้ำขังหรือเศษดินปกคลุม👉 จากนั้นเคาะหัวเสาเข็มดังกล่าวด้วยฆ้อนทดสอบ (Hand-Held Hammer)📢 คลื่นความเค้นอัด (Compression Stress wave) จากการเคาะจะวิ่งผ่านเสาเข็ม🛒 และจะสะท้อนกลับขึ้นมาเพื่อพบว่ามีการเปลี่ยนแปลงพื้นที่หน้าตัด หรือพบการเปลี่ยนแปลงความหนาแน่นของเนื้อคอนกรีตหรือเมื่อพบปลายเสาเข็ม✨ คลื่นความเค้นที่สะท้อนกลับขึ้นมา ณ จุดต่าง ๆ ดังกล่าวจะถูกตรวจจับด้วยหัววัดสัญญาณข้างต้น🎯 และถูกส่งไปยังเครื่องPile Integrity Tester (PIT)✨ เพื่อเปลี่ยนค่าคลื่นสัญญาณความเร่ง (Acceleration Signal) เป็นคลื่นสัญญาณความเร็ว (Velocity Signal)🛒 ก่อนแสดงผลที่หน้าจอทดสอบและบันทึกไว้ในหน่วยความจำของเครื่องทดสอบดังกล่าว🥇 เพื่อนำไปวิเคราะห์ผลในรายละเอียดต่อไป👉
🥇🛒📌การตีความข้อมูล✅👉📢🌏
🎯🥇🛒สภาพความสมบูรณ์ของเสาเข็ม สามารถแปรผลได้โดยตรงจากสัญญาณสะท้อนกลับที่อยู่ในรูปของความเร็วกับเวลา⚡ โดยอาศัยหลักการที่คุณสมบัติของหน้าตัดเสาเข็มทางพลศาสตร์ (Dynamic Pile Stiffness) หรืออิมพีแดนท์ (Impedance) Z ที่เปลี่ยนแปลงจะส่งผลให้คลื่นความเค้นสะท้อนกลับในรูปของคลื่นความเค้นอัด (Compression Wave) หรือคลื่นความเค้นดึง (Tension Wave)📢
Tags : บริษัททดสอบเสาเข็ม (https://xn--l3cgfacae1ef5a2e9eqb3g0evd.com/index.php?topic=18426.0)
สุดยอดมากครับ
ขอบคุณครับ
เข้าใจแล้วครับ
ขอบคุณค่ะ